วันพุธที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ซอฟแวร์โอเพนซอร์ส

ซอฟต์แวร์โอเพนชอร์ส (Open Source Software)
-เป็นแนวทางของการพัฒนาและเผยแพร่ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างจากรูปแบบการพัฒนาและเผยแพร่ซอฟต์แวร์แบบมีลิขสิทธิ์
-แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาโอเพนเซอร์ก็คือ ทุกคนสามารถเรียนรู้ แก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติม ทำซ้ำ และเผยแพร่ได้

ตัวอย่างซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
1.LINUX
2.APACHE
3.PHP

*.*.*.*. SOFTWARE *.*.*.

1. System
-OS
-Computer
-Vtility

2. Application
-SW packgake
-SW custom


Application Software
*เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานในด้านต่างๆตามความต้องการของผู้ใช้
-การออกแบบ
-การพิมพ์เอกสาร
-การสื่อสารข้อมูล
-การเก็บข้อมูล
-การคำนวณ
-การวิเคราะห์ข้อมูล
Categories of Software
-ด้านธุรกิจ
-ด้านกราฟิกส์และมัลติมีเดีย
-ด้านการใช้งานส่วนตัว/การศึกษา
-การติดต่อสื่อสาร

Type of Software
1.ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป(Package Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยบริษัทผลิตซอฟต์แวร์โดยครอบคลุมการใช้งานทั่วๆไปไม่เฉพาะเจาะจงต่อผู้ใช้รายใดรายหนึ่ง
ตัวอย่างของซอฟต์แวร์
-Word Processing
- Spreadsheet
-Accounting
2.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะด้าน(Custom Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใชและสอดคล้องกับกาการทำงาน
1.) จ้างบริษัทผลิตซอฟต์แวร์ หรือจะจ้างนักพัฒนาโปรแกรมมาพัฒนาวอฟต์แวร์
2.) ต้องเข้าไปศึกษาการทำงานและความต้องการของผู้ใช้เฉพาะด้านนั้นๆ
ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ประเภทนี้
-โปรแกรมระบบเงินเดือน
-โปรแกรมาควบคุมสินค้าคงคลัง
-ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม
3.แชร์แวร์(Shareware) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ ที่ทีความสามารถครบถ้วน หรืออาจจะตัดความสามารถบางส่วนออกไป หรือจำกัดจำนวนข้อมูลในการใช้งานโดยสามารถนำไปใช้งานได้ ตรงกับความต้องการ ก็สามารถชำระเงินให้กับผู้ผลิตซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานต่อไปได้
4.ฟรีแวร์(Free of Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ ที่แจกจ่ายให้ใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายแต่ไม่อนุญาตให้นำซอฟต์แวร์นี้ไปใช้ในเชิงการค้าได้
5.ซอฟต์แวร์สาธารณะ(Public-Domain Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่แจกจ่ายให้ใช้งานได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และไม่มีข้อจำกัดในการทำงาน

ประเภทของการใช้งานซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้แก่
1.ซอฟต์แวร์ประมวลคำ
2.วอฟต์แวร์ตารางทำงาน
3.ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
4.ซอฟต์แวร์นำเสนอ
5.ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ
6.Desktop Publishing (DTP)
7.ซอฟต์แวร์สำหรับการแต่งรูปภาพ
8.CAI
9.Web Page Authoring
10.ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล

ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ Operating System หรือเขียนว่า OS
เป็นชุดคำสั่งที่ใช้มนการควบคุมจัดการทรัพยากรฮาร์ดแวร์ เชื่อมมระหว่างฮาร์ดแวร์และผู้ใช้ ทำให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับฮาร์ดแวร์ได้เต็มประสิทธิภาพ
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
- แบ่งตามผู้ใช้
1. ผู้ใช้คนเดียว
2. ผู้ใช้หลายคน
- แบ่งตามงาน
1. ทำได้หนึ่งงาน
2. ทำได้หลายงานพร้อมกัน
ตัวแปลภาษา
- หน้าที่แปลภาษาที่มนุษย์พอเข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง
- Source code เป็น code ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น จากนั้นจึงใช้ Complier แปลเป็นภาษาเครื่อง
โปรแกรมอรรถประโยชน์
โปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกต่างๆในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
- ประเภทการจัดไฟล์
- ประเภทการลบทิ้งข้อมูล
- โปรแกรมจัดการดิกส์
- โปรแกรมรักษาหน้าจอ
- โปรแกรมป้องกันไวรัส
- โปรแกรมไฟล์วอล
- โปรแกรมบีบอัดไฟล์

ซอฟแวร์ระบบ (System Software)

ซอฟแวร์ระบบ
ชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมกับฮาร์ดแวร์ มีหน้าที่ในการควบคุม การจักการและดูแลฮาร์ดแวร์ เพื่อทำให้ฮาร์ดแวร์มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการใช้งานสูงขึ้น มึความยืดหยุ่นสูง รวมถึงการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้สามารถทำงานกับฮาร์ดแวร์ได้ง่ายและสะดวกสบาย ฌโดยซอฟแวร์ระบบสามารถแบ่งตามหน้าที่การใช้งานได้ดังนี้
- ระบบปฏิบัติการ
- ตัวแปลภาษา
- โปรแกรมอรรถประโยช์

ข้อมูลและสารสนเทศ Data

ข้อมูลและสารสนเทศ Data
Data/Information คือทรัพยากรที่สำคัญของหน่วยงานมีหลายลักษณะ
- ข้อมูลตัวเลข นำไปคำนวณได้
- ข้อมูลข้อความ เช่น ชื่อ, ที่อยู่
- ข้อมูลภาพลักษณ์ เช่น เอกสารที่สะแกนเก็บไว้ใช้แสดงข้อมูล
** ข้อมูล หรือ Data หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจริง
** สารสนเทศ หรือ Information หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน

ข้อมูลที่ได้ = ถูกต้อง + เป็นปัจจุบัน+สมบูรณ์

ชุดคำสั่งโปรแกรม Software

ชุดคำสั่งโปรแกรม Software มี 2 ชนิด ได้แก่
1. System Software (ซอฟแวร์ระบบ)
เป็นชุดคำสั่งในการควบคุม สั่งงาน การทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณืต่างๆให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการสร้างระบบติดต่อกับผู้ใช้ (Interface) และจักการกับซอฟแวร์ประยุกต์ที่กำลังทำงานอยู่ เช่น DOS , wINDOWS 98 เป็นต้น

2. Application Software (ซอฟแวร์ประยุกต์)
เป็นชุดคำสั่งที่ได้รับการออกแบบให้ทำงานเน้นเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเป็นหลัก เช่น การทำรายงานเอกสาร หรือการจัดการเก็บฐานข้อมูล

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Hardware

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Hardware
คือ ลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำคัญคือ

- หน่วยประมวลผลกลาง
- หน่วยความจำหลัก
- หน่วยแสดงผล
- หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง

1. หน่วยประมวลผลกลาง Processor
- เสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการสั่งงาน คบคุมให้ส่วนอื่นๆทำงานตามคำสั่งที่ได้รับ
- ประกอบด้วยหน่วยย่อยๆที่เรียกว่า Transistor ขนาดประมาณ 0.25-0.13 ไมครอน จำนวน 10-30 ล้านตัว
- หน่วยประมวลผลกลาง ก็คือ CPU (Central Processing Unit) หรือ Processors ประกอบด้วย
* หน่วยคอบคุม (CU)
* หน่วยคำนวณ/ตรรกะ (ALU)
ถ้า CPU ทำงานได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์นั้นมีความเร็วสูงด้วย โดยการทำงานของChip Microprocessors นี้จะทำงานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เมื่อมีการเคราะจังหวะ 1 ครั้ง เราเรียกหน่วยที่ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า "เฮิร์ท" (Hertz) หมายถึงการทำงานได้กี่ครั้งใน 1 วินาที
ตัวอย่างเช่น Intel Pentium IV 1 GHz จะหมายถึง CPU ของบริษัท Intel รุ่น Pentium Four ที่มีความเร็วในการทำงาน 1000 ล้านครั้งต่อวินาที เป็นต้น

2. หน่วยความจำหลัก Main Memory
ใช้เก็บข้อมูลและคำสั่ง (โปรแกรม) และผลลัผธ์มี 3 ชนิด
- ROM ใช้บันทึกคำสั่งไว้อย่างถาวรอ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขได้
- RAM ใช้บันทึกข้อมูลและคำสั่งที่เราทำงาน สามารถอ่านหรือเขียนข้อมูลได้ แต่ข้อมูลเหล่านี้จะหายไปเมื่อมีการรับข้อมูลใหม่
หรือปืดเครื่อง
- Cache เป็นหน่วยความจำที่ใช้บันทึกเก็บข้อมูลชั่วคราวก่อนส่งให้คอมพิวเตอร์ใช้ และช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็ว

3. หน่วยแสดงผล

4. หน่วยความจำรอง Storage
- หน้าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่งได้ (เหมือนกับ Memory) แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยง
- ข้อแตกต่างระหว่าง Stirage และ Memory
1. สามารถจำข้อมูลหรือคำสั่งได้ แม้ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
2. มีการเก็บข้อมูลที่ใหญ่กว่า เช่น Storage = 80 GB = 80,000 MB
Memory = 256 MB
3. ราคาต่อหน่วยถูกกว่า